W69Business

For Every Business

เพตรา นครสาปสูญ นครศิลาสีกุหลาบแสนวิจิตร ที่หายสาบสูญ 1,000 ปีเพตรา นครสาปสูญ

เพตรา นครสาปสูญ

เพตรา นครสาปสูญ นครศิลาสีกุหลาบแสนวิจิตร ที่หายสาบสูญ 1,000 ปีเพตรา นครสาปสูญ

เพตรา นครสาปสูญ นครเพตรา (Petra) มหานครศิลาที่หายสาบสูญไปนานกว่า 700 ปี ซ่อนตัวอย่างลึกลับในหุบเขาวาดี มูซา หรือหุบเขาโมเสส แรกเริ่มที่นี่เป็นถิ่นที่อยู่อาศัยของชาวเอโดไมท์ตั้งแต่สมัย 1,000 ปีก่อนคริสตกาล แต่กลุ่มชนที่สร้างเมืองเพตราขึ้นมา คือชาวนาบาเธียน (Nabataeans) ซึ่งเป็นชนเผ่าเร่ร่อนแต่เดิม ได้เริ่มลงหลักปักฐาน สร้างที่พักอาศัย และเริ่มสกัดหินผาเพื่อใช้เป็นที่อยู่อาศัย

แม้เมืองแห่งนี้ จะเต็มไปด้วยความแห้งแล้ง โรงเรียนจิวเวอรี่ อยู่กลางทะเลทรายอันร้อนระอุ แต่กลับมีผู้คนมากมาย เดินทางมาในเส้นทางนี้ เพราะเพตรานั้นตั้งอยู่เส้นทางการค้าสำคัญที่สุด ของโลกในขณะนั้น 2 สาย คือเส้นทางสายสายตะวันออก – สายตะวันตก (จากคาบสมุทรอาหรับกับอ่าวเปอร์เซีย ถึงทะเลเมดิเตอร์เรเนียน) และสายเหนือ – ใต้ (เชื่อมทะเลแดงกับ กรุงดามัสกัส ซีเรีย) และยังมีแหล่งน้ำจืดอยู่ในบริเวณนี้ด้วย ทำให้กองคาราวานนิยมเดินทางผ่านมาเพื่อแวะพัก

 จากนั้นมา เมืองเพตราจึงกลายเป็นตลาดซื้อสินค้าสำคัญ W69TH ที่สุดของโลกตะวันออก เพตรา นครสาปสูญ ไม่ว่าจะชาวอาหรับ หรือชาวกรีกล้วนลำเลียงสินค้า ผ่านเส้นทางนี้ทั้งสิ้น โดยเจริญถึงขีดสูงสุดในช่วง 50 ปีก่อนคริสตกาล จนถึงคริสต์ศักราชที่ 70 หลังจากนั้นเพตราก็ถูกเข้ายึดครอง โดยสับเปลี่ยนมือเรื่อยมา ทั้งจากโรมัน และอาหรับ จากนั้นก็ถูกทิ้งร้างเนื่องจากสมัยนั้น เริ่มมีเส้นทางการค้าที่เดินทางสะดวกกว่าเช่นอ่าวสุเอซ รวมถึงมีแผ่นดินไหว ที่ทำลายระบบชลประทานของเมืองไป ผู้คนจึงพากันละทิ้งเมืองจนหมด

หลังจากเมืองล่มสลาย ที่นี่ก็ถูกทิ้งร้างอย่างยาวนาน และหายสาบสูญไปตามกาลเวลา กระทั่งนักสำรวจชาวสวิส โยฮันน์ ลุดวิก บวร์กฮาร์ท ได้ค้นพบนครศิลาแห่งนี้ในปี ค.ศ. 1812 ต่อมาองค์การ UNESCO ได้ขึ้นทะเบียนให้นครเพตราเป็นเมืองมรดกโลกในปี ค.ศ. 1985

ลึกเข้าไปในนครเพตรา ผ่านทางเดินแคบ (The Siq) และหน้าผาสูงชันเข้าไปประมาณ 1-2 กิโลเมตร จะเป็นที่ตั้งของมหาวิหารแห่งเพตรา หรือ Al Khazneh วิหารที่ใหญ่ที่สุดในนครเพตรา และเป็นจุดไฮไลท์ที่นักเดินทาง ต่างเดินเข้ามาชมให้ถึงที่ แม้ระหว่างทางจะไกล และร้อนมากก็ตาม ที่นี่มีความสูงประมาณ 40 เมตร ภายในมหาวิหารนี้ ประกอบด้วย 3 ห้อง คือ ห้องโถงใหญ่ตรงกลาง และห้องเล็กทางด้านซ้ายและขวา ซึ่งปัจจุบันยังไม่มีข้อสรุปว่าสร้างขึ้นเพื่ออะไร แต่ทฤษฤีที่เชื่อถือกันมากที่สุด ก็คือสร้างไว้เพื่อเป็นสถานที่ประกอบพิธีกรรมสำคัญทางศาสนา รวมถึงเป็นสุสานฝังศพของผู้ครองเมือง

ในอดีต เคยเป็นสถานที่ศูนย์กลาง ในด้านการค้าขาย ที่สำคัญมากในประวัติศาสตร์ จนกระทั่ง เกิดเมืองค้าขายแห่งใหม่ขึ้น ซึ่งมีเส้นทางที่สะดวก และปลอดภัยกว่า ทำให้ชาวเมืองเริ่มที่จะเปลี่ยนแหล่งการค้าขาย รวมถึงถูกชาวโรมัน เข้าโจมตีในที่สุด และหลังจากนั้น เมื่อประมาณ ค.ศ. 363 เมืองเพตรา ก็เกิดแผ่นดินไหวครั้งใหญ่ ทำให้อาคารต่างๆ และระบบชลประทานหลักของเมืองถูกทำลายลง จนกระทั่งถูกทิ้งร้างในที่สุด

หนทางสู่ฟาโรห์ “ซิค” (Siq) ทางเดินที่ถูกล้อมไว้ด้วยหุบเขา และมีลักษณะเป็นหน้าผาหิน ซึ่งช่องเขาอันสุดแสนอัศจรรย์นี้ เกิดจากการถูกน้ำซัด กัดกร่อนป็นเวลาหลายพันปี จนเกิดแนวหน้าผาหินขนาดสูงกว่า 250 ฟุต ที่ทอดยาว และมีความคดเคี้ยวอย่างสวยงาม ทั้งยังเต็มไปด้วยหินหลากสี อาทิ เทา, ชมพู ฯลฯ ที่เกิดจากธรรมชาติ จึงทำให้ซิค กลายเป็นอีกจุดในเมืองเพตรา ที่ได้รับความนิยม จากนักท่องเที่ยวมากมายตลอดปี

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *